แบบเกณฑ์ประเมินระบบสุขภาพอำเภอที่พึงประสงค์ (ฉบับร่างที่ 1) ( อ่าน 270 )


แบบเกณฑ์ประเมินระบบสุขภาพอำเภอที่พึงประสงค์ (ฉบับร่างที่ 1)


ที่มา
         แนวทางการประเมินที่นำมาใช้นี้เป็นการนำแนวทางการประกันคุณภาพของ The Council of the University Presidents Quality Assurance (CUPT QA ) และ Education Criteria for Performance Excellence ( EdPEx) เนื่องจากทั้ง CUPT QA และ EdPEx เป็นการประกันคุณภาพที่เหมาะสำหรับองค์กรที่มีเอกลักษณ์ที่แตกต่างกัน กระบวนการตรวจประเมินคุณภาพระบบสุขภาพอำเภอ มีแนวทางดังต่อไปนี้ กรอบเวลาการตรวจประเมินดําเนินการส่งข้อมูลตามเกณฑ์การประเมินทุกปี ทุกอำเภอตรวจประเมินเพื่อการพัฒนาตามเกณฑ์ DHS ตามรอบระยะเวลาที่กําหนด 
โดยทุกอำเภอจะต้องได้รับการตรวจประเมินอย่างน้อย 1 ครั้งใน รอบ 3 ปี ควรดําเนินการประเมินตนเองและพร้อมรับการประเมินอย่างน้อย 1 เดือน ก่อนการตรวจประเมินองค์ประกอบและคุณสมบัติของคณะกรรมการประเมิน คณะกรรมการประเมินประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิอย่างน้อย
 3 คน ประกอบด้วยประธาน 1 คน กรรมการอย่างน้อย 2 คน ประธานและคณะกรรมการประเมินจะต้องเป็นผู้ประเมินที่ขึ้นบัญชีผู้ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานระบบสุขภาพอำเภอ DHSประธานและคณะกรรมการประเมินจะต้องเป็นผู้ประเมินจากภายนอกอำเภอไม่มีส่วนได้ส่วนเสียกับอำเภอ
ที่รับประเมินและเคยมีประสบการณ์ ในการบริหารจัดการระบบสุขภาพอำเภอมาก่อนอย่างน้อย 2 ปี มีระเบียบการแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินกำหนดไว้เป็นลายลักษณ์อักษร
         รายงานการประเมินตนเอง ทุกอำเภอที่รับการตรวจประเมินเตรียมข้อมูลตามเกณฑ์และบันทึกลงระบบ DHS assessment online ให้เรียบร้อยก่อนคณะกรรมการประเมินเข้าตรวจประเมินอย่างน้อย 15 วัน วิเคราะห์ตนเองโดยใช้เครื่องมือ SWOT และ Gap analysis ตามหมวดของเกณฑ์ DHS  
         ขั้นตอนการตรวจประเมินมีกําหนดตรวจประเมินโดยแบ่งเป็น 2 ช่วง ประกอบด้วย 
การประเมินคณะกรรมการโดยพิจารณาข้อมูลในระบบ DHS online การลงเยี่ยมเพื่อเก็บข้อมูลเพิ่มเติมตามบริบทของพื้นที่เป็นเวลา 2 วัน โดยให้ผู้รับประเมินดำเนินการ ดังนี้ การนําเสนอผลการดําเนินงานตรวจเยี่ยมการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ คณะกรรมการ พชอ. บุคลากร ผู้รับบริการและประชาชน สถานที่และการทำงานจริง การนําเสนอสรุปผลการลงเยี่ยมเบื้องต้น
ด้วยวาจาที่เน้นการเสนอจุดแข็งและข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาของพื้นที่ (Closing Meeting)
         รายงานผลการตรวจประเมินคณะกรรมการสรุปผลการประเมินโดยมีการเสนอจุดแข็งและข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอโดยให้คะแนนการประเมินทั้งในภาพรวมและ
เฉพาะแต่ละเกณฑ์ทั้งเกณฑ์หลักและเกณฑ์ย่อย ทั้งนี้ ควรจัดทำรายงานผลการตรวจประเมินให้แล้วเสร็จภายใน 1 เดือน หลังสิ้นสุดการลงเยี่ยมแจ้งระดับการประเมินตามเกณฑ์ DHS เพื่อให้
ผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพอำเภอรับรู้ถึงระดับคุณภาพของการจัดการระบบสุขภาพอำเภอแต่ละเกณฑ์และสามารถนำไปปรับปรุงพัฒนาการดำเนินการในการจัดการระบบสุขภาพอำเภอได้อย่างต่อเนื่อง การประเมินจะใช้เกณฑ์ 7 ระดับ ตามแนวทางการประเมินของ AUN-QA ระดับสถาบัน ดังต่อไปนี้

เกณฑ์การประเมิน 7 ระดับของ AUN QA

Rating

Description

1

Absolutely Inadequate

The QA practice to fulfil the criterion is not implemented. There are no plans, documents, evidences or results available. Immediate improvement must be made.

2

Inadequate and Improvement is Necessary

The QA practice to fulfil the criterion is still at its planning stage or is inadequate where improvement is necessary. There is little document or evidence available. Performance of the QA practice shows little or poor results.

3

Inadequate but Minor Improvement Will Make It Adequate

The QA practice to fulfil the criterion is defined and implemented but minor improvement is needed to fully meet them. Documents are available but no clear evidence to support that they have been fully used. Performance of the QA practice shows inconsistent or some results.

4

Adequate as Expected

The QA practice to fulfil the criterion is adequate and evidences support that it has been fully implemented. Performance of the QA practice shows consistent results as expected.

5

Better Than Adequate

The QA practice to fulfil the criterion is better than adequate. Evidences support that it has been efficiently implemented. Performance of the QA practice shows good results and positive improvement trend.

6

Example of Best Practices

The QA practice to fulfil the criterion is considered to be example of best practices in the field. Evidences support that it has been effectively implemented. Performance of QA practice shows very good results and positive improvement trend.

7

Excellent (Example of World-class or Leading Practices)

The QA practice to fulfil the criterion is considered to be excellent or example of world-class practices in the field. Evidence support that it has been innovatively implemented. Performance of the QA practice shows excellent results and outstanding improvement trends.

แนวทางการประเมินระดับคะแนน
“ความหมาย” ของระดับคะแนน 1-4 ข้างต้นเป็นการแสดงถึงระดับคุณภาพของ
การดําเนินการ (QA Practice) ตามเกณฑ์ หรือสถานะการดําเนินการระบบสุขภาพอำเภอ ว่าได้ดําเนินการถึงในระดับใด ตั้งแต่ ระดับไม่เพียงพออย่างยิ่ง (ระดับ 1) หรือ ยังไม่ได้ดําเนินการ
ตามที่เกณฑ์กําหนด ไม่มีแผนงานไม่มีหลักฐานว่าได้ดําเนินการตามเกณฑ์จนถึงเพียงพอ
ตามความคาดหมาย (ระดับ 4) หรือมีหลักฐานว่าได้ดําเนินการตามเกณฑ์อย่างเป็นระบบและ
มีแนวโน้มผลการดําเนินการที่สมํ่าเสมอตามคาดหวัง
ทั้งนี้ ในการประเมินจะเป็นการตรวจหาหลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงระดับการดําเนินการต่าง ๆ โดยจะไม่ใช่การตรวจเอกสารทุกชิ้นที่เกี่ยวข้องแต่เป็นการสุ่มตรวจเอกสารสําคัญและสัมภาษณ์
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องเพื่อยืนยันการดําเนินการตามเกณฑ์ ส่วนระดับ 5 - 7 เป็นการบ่งชี้ถึงการดําเนินการที่เหนือกว่าเกณฑ์ที่กําหนดโดยมีหลักฐานแสดงให้เห็นว่าได้ดําเนินการตามเกณฑ์
อย่างมีประสิทธิภาพมีผลลัพธ์การดําเนินการที่ดีและมีแนวโน้มผลการดําเนินการในเชิงบวก (ระดับ 5) จนได้รับการยอมรับจากผู้อื่น (เช่นจากหน่วยงานอื่น หรืออำเภออื่น) เป็นตัวอย่างของแนวปฏิบัติ
ที่เป็นเลิศ (ระดับ 6) หรือเป็นแนวปฏิบัติชั้นนําหรือดีเยี่ยม มีการดําเนินการตามเกณฑ์อย่างมีนวัตกรรม มีผลลัพธ์ที่โดดเด่นในระดับโลก (ระดับ 7) ทั้งนี้สามารถใช้ระดับคะแนนในการประเมินกิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้ดําเนินการเพื่อปรับปรุงคุณภาพของการของระบบสุขภาพอำเภอหรือ
ในการประเมินสิ่งที่ดําเนินการเพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพ (quality and improvement activities)

เกณฑ์การให้คะแนนการประเมิน ระดับ 1 – 7 ตามหลักการ AUN-QA

1

2

3

4

5

6

7

ไม่มีการดําเนินงานตามเกณฑ์ที่กําหนด

มีผลการดําเนินงานเบื้องต้น(เป็นข้อมูลดิบ เริ่มมีระบบ แต่ยังไม่สมบูรณ์ ไม่สามารถ/ไม่มีการวิเคราะห์)

มีการเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบสามารถ/มีผลการวิเคราะห์การดําเนินงานเทียบกับเป้าหมาย

3+มีแนวโน้มผลการดําเนินงานของระบบดีทําให้เกิดผลเป็นไป/ในทิศทางตามเป้าหมายที่กําหนด

4+มีการดําเนินงานเหนือกว่าที่เกณฑ์กําหนดส่งผลให้เกิดการพัฒนาระบบ

5+มีผลการดําเนินงานที่เท่าหรือสูงกว่าคู่เทียบในระดับชั้นนําของประเทศ มีการดําเนินงานที่ดีต่อเนื่องส่งผลให้การดําเนินงานเทียบเท่าหรือสูงกว่าคู่เทียบ (คู่เทียบชั้นนั้นนำระดับประเทศ)

Excellent (Example of World-class or Leading Practices)

 

ตัวอย่าง

  1. ภาวะผู้นำและการอภิบาลระบบ (Leadership & Governance)

บริบทและข้อมูลเริ่มต้นของระบบ

ประเด็น

PDCA

ลักษณะ

น้ำหนักคะแนน

1

2

3

4

5

6

7

1.กำหนดทิศทางของระบบสุขภาพอำเภอ

(Policy Guidance)

 

P

1.ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(Stakeholder) มีส่วนร่วมในการกำหนดทิศทางของระบบสุขภาพระดับอำเภอ

 

ไม่มีการ

ดำเนินการ

 

 

 

 

 

 

P

2. มีการใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์เรื่องสุขภาพในด้านสถานการณ์ปัญหา ความจำเป็น (Need) ของประชาชนแต่ละกลุ่มบริบทของพื้นที่ที่มีผลต่อสุขภาพ

 

 

 

 

 

 

 

 

D

3. การตัดสินใจกำหนดทิศทางของระบบสุขภาพระดับอำเภอเกิดจากกระบวนการ ชัดเจน เปิดเผย และเปิดโอกาสให้ตรวจสอบได้

 

 

 

 

 

 

 

 

D

4. การตัดสินใจกำหนดทิศทางของระบบสุขภาพระดับอำเภอ คำนึงถึงและมีความสอดคล้องกับนโยบาย ยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องและมีผลต่อการดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ

 

 

 

 

 

 

 

 

2.การออกแบบระบบในอำเภอ (Systems Design)

 

1. ระบบงานมีความชัดเจน ปฏิบัติได้ และเข้าใจตรงกัน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2. ระบบงานถูกออกแบบโดยคำนึงถึงความเป็นธรรมและการตอบสนองความต้องการของประชาชน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3. ระบบงานถูกออกแบบโดยคำนึงถึงประสิทธิภาพและความคุ้มค่า

 

 

 

 

 

 

 

 

 

4. การออกแบบระบบคำนึงถึงความเชื่อมโยงระหว่างระบบในขอบเขตอำเภอ และเชื่อมโยงกับระบบอื่นในจังหวัด และเขตสุขภาพ

 

 

 

 

 

 

 

 

3. บริหารจัด การในภาพรวมของอำเภอ (Overview management)

 

1. มีโครงสร้าง (Structure) ที่กำหนดความ สัมพันธ์ของหน่วย งานต่าง ๆ ในระบบสุขภาพอำเภอชัดเจนทั้งการบริการสุขภาพ และการดำเนินงานด้านสุขภาพ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2. มีการจัดสรรทรัพยากรเพื่อใช้บริหารจัดการเพื่อสุขภาพอย่างเหมาะสม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3. มีการขับเคลื่อน การบริหารจัดการ การสนับสนุน ให้การดำเนินการเป็น ไปตามทิศทางที่กำหนด

 

 

 

 

 

 

 

 

 

4. มีการกำกับ ติดตาม ประเมินผล และนำผลการประเมินมาใช้ประโยชน์

 

 

 

 

 

 

 

 

4. การนำของผู้นำทุกระดับ เพื่อบรรลุผลของระบบสุขภาพอำเภอ (Leadership of all levels)

 

1. การนำของคณะกรรมการ พชอ. มีการประชุมสม่ำเสมอ ตัดสินใจกำหนดทิศทาง วางแนวทางสื่อสารความเข้าใจ ประสานการดำเนินงานในเรื่องสุขภาพเพื่อให้บรรลุการมีสุขภาพดีของประชาชนในอำเภอ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2. การนำของผู้นำหน่วยงานในภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง

- นำโดยมุ่งประชาชนเป็นศูนย์กลาง

- นำโดยยึดแนวทางที่สอดคล้องประสานความร่วมมือกับหน่วยงานหรือภาคส่วนอื่น

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3. การนำของผู้นำชุมชน       

- มีการนำที่สร้างความร่วมมือของประชาชนในชุมชนเดียวกัน และระหว่างชุมชน

- มีการนำที่สร้างความร่วมมือระหว่างภาคราชการ และภาคประชาชน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

4.  ผู้นำในทุกระดับมีสมรรถนะในการนำและการบริหารจัดการที่เหมาะสมกับบทบาทภารกิจ

 

 

 

 

 

 

 

 

  1.  ระบบบริการสุขภาพ (Service delivery system)

บริบทและข้อมูลเริ่มต้นของระบบ

ประเด็น

PDCA

ลักษณะ

น้ำหนักคะแนน

1

2

3

4

5

6

7

1.การดำเนินการเพื่อสุขภาพ

(Population Health operations)

 

1.มุ่งเน้นการทำให้ชุมชน ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ปรับปรุง ควบคุม หรือดูแลสุขภาพตนเองได้

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2. วิธีการดำเนินการ
มีการผสมผสาน มุมมองทางวิชาการ และ มุมมองทางสังคมวัฒนธรรมในพื้นที่อย่างครบถ้วน
รอบด้าน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3. มุ่งจัดการปัจจัยกำหนดสุขภาพ เพื่อสุขภาพดี ลดความเสี่ยงและผลกระทบเชิงลบต่อสุขภาพ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

4. ภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภาคราชการ ภาคเอกชน ภาคประชาชน มีส่วนในการดำเนินการเพื่อสุขภาพ

 

 

 

 

 

 

 

 

2. การจัดบริการสุขภาพ

(Health services)

 

1. ตอบสนองความจำเป็นในแต่ละกลุ่มวัย และกลุ่มเป้าหมายเฉพาะอย่างครบถ้วน เหมาะสมกับ บริบทของพื้นที่และชุมชน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2. บริการครบทุกมิติ ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู มีบริการทั้งภาวะฉุกเฉินและไม่ฉุกเฉิน และการส่งต่อ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3. มีการเชื่อมต่อบริการสุขภาพ ตั้งแต่ชุมชน ถึงหน่วยบริการปฐมภูมิ และโรงพยาบาลระดับต่าง ๆ หน่วยงานและองค์กรด้านสุขภาพในพื้นที่

 

 

 

 

 

 

 

 

 

4. การจัดบริการเอื้อและส่งเสริมให้ประชาชนสามารถเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

 

 

 

 

 

  1. กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce)

บริบทและข้อมูลเริ่มต้นของระบบ

ประเด็น

PDCA

ลักษณะ

น้ำหนักคะแนน

1

2

3

4

5

6

7

1.   กำลังคนในภาคสาธารณสุข (Health sector workforce)

 

1.   มีการจัดการกำลังคนภาพรวมในแต่ละวิชาชีพ ในแต่ละหน่วยบริการ ให้มีความเพียงพอต่อภารกิจตามเกณฑ์ที่กำหนด

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2.   มีกระบวนการพัฒนากำลังคน ให้มีสมรรถนะเหมาะสมต่อกับมาตรฐานวิชาชีพและภารกิจที่เกี่ยวข้อง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3.   มีการสร้างค่านิยมในการทำงานเพื่อประชาชน
การทำงานเป็นทีมและการทำงานเป็นเครือข่ายกับภาคส่วนอื่น มีกระบวนการสร้างความภาคภูมิใจ รับรู้คุณค่าและความผูกพันในงานบริการสุขภาพ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

4.   มีการจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเครือข่ายบริการสุขภาพรวมถึงการรับฟังเสียงสะท้อนและแลกเปลี่ยนความเห็นกับภาคส่วนอื่น

 

 

 

 

 

 

 

 

2. กำลังคนนอกภาคสาธารณสุข (non-health sector workforce)

 

1.   มีการสร้างเครือข่ายนอกภาคสาธารณสุขที่มีความชัดเจนในกำลังคนที่เชื่อมโยงและการบูรณาการความร่วมมือในการดำเนินงานด้านสุขภาพอย่างสม่ำเสมอ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2.   มีกระบวนการพัฒนากำลังคนนอกภาคสาธารณสุขให้มีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานเพื่อสุขภาพ และมีทักษะความสามารถสมรรถนะเหมาะสมต่อภารกิจ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3.   การสร้างความภาคภูมิใจ การรับรู้คุณค่าของการดำเนินงานที่ทำร่วมกับเจ้าหน้าที่ในระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

4.   มีการส่งเสริมบทบาทและจัดกระบวนการให้กำลังคนนอกภาคสาธารณสุขได้เสนอแนะ แลกเปลี่ยนความคิด ความเห็นต่อการดำเนินงานเพื่อสุขภาพ

 

 

 

 

 

 

 

 

  1. ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information System)

บริบทและข้อมูลเริ่มต้นของระบบ

ประเด็น

 

ลักษณะ

น้ำหนักคะแนน

1

2

3

4

5

6

7

1.ฐานข้อมูลและสารสนเทศภาพรวมระดับอำเภอ

(District health database)

 

1.มีข้อมูลสารสนเทศเพื่อประกอบการให้บริการสุขภาพอย่างถูกต้อง ครบถ้วน 

 

 

 

 

 

 

 

 

2.มีข้อมูลสารสนเทศเพื่อดำเนินงานด้านสุขภาพอย่างครอบคลุม

 

 

 

 

 

 

 

 

3.มีข้อมูลสารสนเทศเพื่อการกำหนดเป้าหมาย วางแผน บริหารจัดการที่สอดคล้องเชื่อมโยง

 

 

 

 

 

 

 

 

4.มีข้อมูลสารสนเทศเครือข่ายระดับอำเภอรวมถึงระเบียบวิธีปฏิบัติ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ
การทำงาน

 

 

 

 

 

 

 

 

2. กระบวนการบริหารจัดการข้อมูล และสารสนเทศ (Health information system management)

1.การออกแบบฐานข้อมูลและสารสนเทศที่ยึดการตอบสนองความต้องการใช้งานของผู้เกี่ยวข้อง

 

 

 

 

 

 

 

 

2.กำหนดระเบียบวิธีและ
การจัดการข้อมูลที่มีความชัดเจน ปฏิบัติได้และมีส่วนร่วม

 

 

 

 

 

 

 

 

3.มีเครื่องมือและเทคโนโลยีใน
การจัดการข้อมูลที่เพียงพอเหมาะสมต่อการใช้งานและมีประสิทธิภาพ 

 

 

 

 

 

 

 

 

4.บุคลากรที่ทำงานเกี่ยวกับระบบข้อมูลมีสมรรถนะและทักษะ
ที่เหมาะสม

 

 

 

 

 

 

 

 

3. การเชื่อมโยงสื่อสารข้อมูลสารสนเทศระหว่างภาคส่วนต่างๆ ภายในอำเภอ (Communication in district network)

1.มีระบบการเชื่อมโยงข้อมูล และใช้ข้อมูลร่วมกันเพื่อการบริการและการดำเนินงานด้านสุขภาพ

 

 

 

 

 

 

 

 

2.มีระบบการวิเคราะห์ ตีความ
ทำความเข้าใจ ข้อมูลสารสนเทศ
ให้เข้าใจตรงกันก่อนสื่อสารให้แก่กลุ่มเป้าหมายโดยเฉพาะเมื่อมีความจำเป็นหรือเหตุการณ์สำคัญด้านสุขภาพ

 

 

 

 

 

 

 

 

3.มีระบบการเฝ้าระวัง และรับข้อมูลสารสนเทศที่สำคัญจากแหล่งต่าง ๆ ทั้งในและนอกอำเภอ

 

 

 

 

 

 

 

 

4.มีกระบวนการพัฒนาทักษะการกรองข้อมูลข่าวสาร วิเคราะห์ข้อมูลข่าวสาร อย่างเท่าทันแก่บุคลากรประชาชน

 

 

 

 

 

 

 

 

    5. การเข้าถึงยาและเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่จำเป็น (Access to essentia


...